- การจำแนกคำเป็น คำตาย พิจารณาจากประเภทของสระและมาตราตัวสะกด
- ลักษณะของคำเป็นและคำตาย
ประเภทสระ(คำที่ไม่มีตัวสะกด) มาตราตัวสะกด(คำที่มีตัวสะกด) คำ
เป็น- ประสมด้วยสระเสียงยาว
-า , -ี , -ู , เ- , แ-
ตัวอย่าง กา ปี มือ ปู เข - ประสมด้วยสระเสียงสั้น
เฉพาะ -ำ , ไ- , ใ-, เ-า
ตัวอย่าง กำ ไข ใคร
มีตัวสะกดอยู่ในมาตรา
- แม่กง เช่น คง ชง จง
- แม่กน เช่น ขน คน จน
- แม่กม เช่น กลม คม งม
- แม่เกย เช่น เกย เขย
- แม่เกอว เช่น กาว ขาว
คำ
ตายประสมด้วยสระเสียงสั้น
เช่น -ะ, -ิ , -ึ , -ุ , เ-ะ , แ-ะ
ตัวอย่างเช่น จะ ติ ฮึ ยุ เตะมีตัวสะกดอยู่ในมาตรา
- แม่กก เช่น ครก งก ฉก
- แม่กด เช่น ขด คด งด
- แม่กบ เช่น ขบ คบ งบ
- ประสมด้วยสระเสียงยาว
คำเป็น คำตาย
พยัญชนะต้น ตัวสะกด ตัวการันต์
พยัญชนะต้น เป็นอักษรที่เขียนร่วมกับสระและวรรณยุกต์ เช่น
- แม่ มีพยัญชนะต้น ม
การประสมพยางค์และคำ
พยางค์และคำจะต้องประกอบด้วยส่วนต่างๆ อย่างน้อย 3 ส่วน คือ
- พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์ ซึ่งเรียกว่า การประสม 3 ส่วน
- พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด ซึ่งเรียกว่า การประสม 4 ส่วน
- พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวการัตน์ ซึ่งเรียกว่า การประสม 4 ส่วนพิเศษ
- พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด + ตัวการันต์ ซึ่งเรียกว่า การประสม 5 ส่วน
โครงสร้างของพยางค์และคำ
พยางค์และคำจะประกอบด้วยโครงสร้างสำคัญต่างๆ ดังนี้
- พยัญชนะ ซึ่งแบ่งทำหน้าที่ 3 ลักษณะ คือ พยัญชนะต้น ตัวสะกด และตัวการันต์
พยางค์และคำ หมายถึง
พยางค์และคำ คืออะไร
- พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้
ภาษาไทย
การเรียนรู้ในหลักภาษาไทย แม้ไม่ใ่ช่เรื่องยาก แต่ก็มีนักเรียนจำนวนมากยังขาดความรู้ความเข้าใจในหลักภาษาไทย การเรียนอย่างเป็นระบบและการฝึกฝนตามลำดับขั้นจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะ และความชำนาญ มีพื้นฐานที่ดี สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และใช้ในการศึกษาต่อไปได้
Subscribe to:
Posts (Atom)